โรคไต หรือ โรคที่ผิดปกติทางไต เป็นหนึ่งในโรคร้ายที่มีอัตราผู้ป่วยเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ตามอัตราการเพิ่มขึ้นของ Metabolic Syndrome ที่เป็นสาเหตุของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ อัมพาต โรคอ้วน และโรคไขมันอุดตันเส้นเลือด ซึ่งทุกโรคมีผลกระทบโดนตรงต่อไตและเป็นบ่อเกิดของโรคไตวายในที่สุด

     ในส่วนของสาเหตุของการเกิดโรคไตมีมากมาย แต่สาเหตุที่พบมากที่สุดมี 7 กลุ่ม ได้แก่

     1.โรคเบาหวาน น้ำตาลในเลือดสูงนานๆ จะทำให้เส้นเลือดในร่างกายเสียไป

     2.โรคความดันโลหิตสูง ความดันสูงนานๆ ทำให้เส้นเลือดที่ไตเสีย ในที่สุดก็เป็นโรคไตวาย

     3.การอักเสบของไต ร่างกายสร้างภูมิต้านทานที่ผิดปกติทำลายไต ทำให้เกิดไตวาย

     4.เป็นนิ่วอุดตัน โรคเก๊าท์

     5.เส้นเลือดอักเสบบางชนิด และไขมันอุดตันเส้นเลือดก็ทำให้ไตเสียได้

     6.ติดเชื้อทำให้ไตอักเสบนานๆ

     7.ยาและสารเคมีบางชนิดทำให้ไตเสีย

 

     การดูแลป้องกัน การดูแลป้องกันโรคที่เกี่ยวกับไตนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น เลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ ลดอาหารไขมันสูง ลดอาหารจำพวกแป้ง ทางผักผลไม้ ทานข้าวกล้องแทนข้าวขาว ทานปลา และควบคุมน้ำหนัก นอกจากนี้ควรลดสูบบุหรี่ และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ นอกจากนี้ ยังควรที่จะตรวจเช็คร่างกายสม่ำเสมอ ตรวจเช็คเบาหวาน และเช็คความดันโลหิต ไขมันในเลือด

การแบ่งระยะของโรคไตเรื้อรัง

  1. แบ่งระยะของโรคไตตามสาเหตุ และตามโรคร่วม เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคพันธุกรรม โรคที่เกิดจากปัจจัยสิ่งแวดล้อม และโครงสร้างทางกายวิภาคของไต เป็นต้น
  2. แบ่งระยะตามระดับอัตราการกรองของไตหรือ eGFR (estimated glomerular filtration rate)

     โดยเราจะแบ่งโรคไตเรื้อรังออกเป็น 5 ระยะ ดังนี้

     ▸ ระยะที่ 1 หรือค่า eGFR มากกว่า 90% เป็นระยะที่อยู่ในระดับที่มีความเสี่ยงต่ำ

     ▸ ระยะที่ 2 หรือค่า eGFR อยู่ในช่วงระยะ 60 - 89% เป็นระยะที่เราจะเริ่มประเมินและชะลอการเสื่อมของโรคไตเรื้อรัง

     ▸ ระยะที่ 3 หรือค่า eGFR อยู่ในช่วงระยะ 30 - 60% เป็นระยะที่แพทย์จะเพิ่มการดูแลภาวะแทรกซ้อนของไต และต้องระวังในเรื่องของโรคหัวใจที่จะเป็นภาวะแทรกซ้อนและทำให้ผู้ป่วยโรคไตเสียชีวิตได้มาก

     ▸ ระยะที่ 4 หรือค่า eGFR น้อยกว่า 30% เราจะต้องเริ่มคุยกันเรื่องการทำบำบัดทดแทนไต เพราะการฟอกไตไม่ว่าจะฟอกเลือดด้วยเครื่องฟอกไตเทียม การฟอกไตทางหน้าท้อง หรือการปลูกถ่ายไต

     ▸ ระยะที่ 5 เมื่อ eGFR น้อยกว่า 15% แพทย์จะเริ่มการบำบัดทดแทนไต ตามที่ได้ปรึกษากันแล้วก่อนหน้านี้ โดยเริ่มการบำบัดทดแทนไตในเวลาที่เหมาะสม

     นอกจากนี้ยังมีอาการอื่นที่เป็นสัญญาณโรคไต ได้แก่ ปัสสาวะผิดปกติมีฟองมาก ปวดบั้นเอวข้างใดข้างหนึ่ง มีจ้ำเลือดตามร่างกาย บวมตามตัวและใบหน้า ผมร่วงผิดปกติ ในเพศชายอาจอวัยวะเพศไม่แข็งตัว

     ทั้งนี้สำหรับการใช้พอลลิติน ในกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังนั้น สามารถใช้กับโรคไตได้ทุกระยะ สำหรับการใช้พอลลิตินในการรักษาแบบแพทย์ทางเลือก เพื่อให้มีประสิทธิ์ภาพตามจดมุ่งหมาย ในผู้ที่มีอาการโรคไตเรื้อรัง ควรใช้พอลลิตินประกอบกันมากกว่า 1-2 ชนิดขึ้นไป ดังนั้น ทางเราขอแนะนำเบื้องต้น เป็นชุดเปิดใจประกอบด้วย

01.พอลลิตัน (สีน้ำตาล) 1,500 บาท

02.พอลลิทรอมบ์ (สีชมพู) 2,000 บาท

03.MX Protein สูตรพืชและไข่ขาว อัลบูแพลนท์ รสข้าวโอ๊ค 1,290 บาท

     โดยพอลลิติน Politin ทั้ง 2 ชนิด และMX Protein สูตรพืชและไข่ขาว อัลบูแพลนท์นั้น ทางเราเองขอแนะนำเป็นชุดเบื้องต้น ในการเปิดใจใช้ผลิตภัณฑ์พอลลิติน หากท่านใดสนใจที่จะใช้พอลลิตินเพิ่มเติม สามารถติดต่อสอบถามกับผู้เชี่ยวชาญของเราได้เลย

 

"ปรึกษาการใช้ผลิตภัณฑ์พอลลิติน เพื่อตอบโจทย์การใช้ให้ตรงโรคจากผู้เชี่ยวชาญ"

คุณวชิรา นธีนาม
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

โทร 088 654 9633

 

LINE @Puy.wachira