โรคไต หรือ โรคที่ผิดปกติทางไต เป็นหนึ่งในโรคร้ายที่มีอัตราผู้ป่วยเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ตามอัตราการเพิ่มขึ้นของ Metabolic Syndrome ที่เป็นสาเหตุของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ อัมพาต โรคอ้วน และโรคไขมันอุดตันเส้นเลือด ซึ่งทุกโรคมีผลกระทบโดนตรงต่อไตและเป็นบ่อเกิดของโรคไตวายในที่สุด
ในส่วนของสาเหตุของการเกิดโรคไตมีมากมาย แต่สาเหตุที่พบมากที่สุดมี 7 กลุ่ม ได้แก่
1.โรคเบาหวาน น้ำตาลในเลือดสูงนานๆ จะทำให้เส้นเลือดในร่างกายเสียไป
2.โรคความดันโลหิตสูง ความดันสูงนานๆ ทำให้เส้นเลือดที่ไตเสีย ในที่สุดก็เป็นโรคไตวาย
3.การอักเสบของไต ร่างกายสร้างภูมิต้านทานที่ผิดปกติทำลายไต ทำให้เกิดไตวาย
4.เป็นนิ่วอุดตัน โรคเก๊าท์
5.เส้นเลือดอักเสบบางชนิด และไขมันอุดตันเส้นเลือดก็ทำให้ไตเสียได้
6.ติดเชื้อทำให้ไตอักเสบนานๆ
7.ยาและสารเคมีบางชนิดทำให้ไตเสีย
การดูแลป้องกัน การดูแลป้องกันโรคที่เกี่ยวกับไตนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น เลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ ลดอาหารไขมันสูง ลดอาหารจำพวกแป้ง ทางผักผลไม้ ทานข้าวกล้องแทนข้าวขาว ทานปลา และควบคุมน้ำหนัก นอกจากนี้ควรลดสูบบุหรี่ และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ นอกจากนี้ ยังควรที่จะตรวจเช็คร่างกายสม่ำเสมอ ตรวจเช็คเบาหวาน และเช็คความดันโลหิต ไขมันในเลือด
การแบ่งระยะของโรคไตเรื้อรัง
- แบ่งระยะของโรคไตตามสาเหตุ และตามโรคร่วม เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคพันธุกรรม โรคที่เกิดจากปัจจัยสิ่งแวดล้อม และโครงสร้างทางกายวิภาคของไต เป็นต้น
- แบ่งระยะตามระดับอัตราการกรองของไตหรือ eGFR (estimated glomerular filtration rate)
โดยเราจะแบ่งโรคไตเรื้อรังออกเป็น 5 ระยะ ดังนี้
▸ ระยะที่ 1 หรือค่า eGFR มากกว่า 90% เป็นระยะที่อยู่ในระดับที่มีความเสี่ยงต่ำ
▸ ระยะที่ 2 หรือค่า eGFR อยู่ในช่วงระยะ 60 - 89% เป็นระยะที่เราจะเริ่มประเมินและชะลอการเสื่อมของโรคไตเรื้อรัง
▸ ระยะที่ 3 หรือค่า eGFR อยู่ในช่วงระยะ 30 - 60% เป็นระยะที่แพทย์จะเพิ่มการดูแลภาวะแทรกซ้อนของไต และต้องระวังในเรื่องของโรคหัวใจที่จะเป็นภาวะแทรกซ้อนและทำให้ผู้ป่วยโรคไตเสียชีวิตได้มาก
▸ ระยะที่ 4 หรือค่า eGFR น้อยกว่า 30% เราจะต้องเริ่มคุยกันเรื่องการทำบำบัดทดแทนไต เพราะการฟอกไตไม่ว่าจะฟอกเลือดด้วยเครื่องฟอกไตเทียม การฟอกไตทางหน้าท้อง หรือการปลูกถ่ายไต
▸ ระยะที่ 5 เมื่อ eGFR น้อยกว่า 15% แพทย์จะเริ่มการบำบัดทดแทนไต ตามที่ได้ปรึกษากันแล้วก่อนหน้านี้ โดยเริ่มการบำบัดทดแทนไตในเวลาที่เหมาะสม
นอกจากนี้ยังมีอาการอื่นที่เป็นสัญญาณโรคไต ได้แก่ ปัสสาวะผิดปกติมีฟองมาก ปวดบั้นเอวข้างใดข้างหนึ่ง มีจ้ำเลือดตามร่างกาย บวมตามตัวและใบหน้า ผมร่วงผิดปกติ ในเพศชายอาจอวัยวะเพศไม่แข็งตัว
ทั้งนี้สำหรับการใช้พอลลิติน ในกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังนั้น สามารถใช้กับโรคไตได้ทุกระยะ สำหรับการใช้พอลลิตินในการรักษาแบบแพทย์ทางเลือก เพื่อให้มีประสิทธิ์ภาพตามจดมุ่งหมาย ในผู้ที่มีอาการโรคไตเรื้อรัง ควรใช้พอลลิตินประกอบกันมากกว่า 1-2 ชนิดขึ้นไป ดังนั้น ทางเราขอแนะนำเบื้องต้น เป็นชุดเปิดใจประกอบด้วย
01.พอลลิตัน (สีน้ำตาล) 1,500 บาท
02.พอลลิทรอมบ์ (สีชมพู) 2,000 บาท
03.MX Protein สูตรพืชและไข่ขาว อัลบูแพลนท์ รสข้าวโอ๊ค 1,290 บาท
โดยพอลลิติน Politin ทั้ง 2 ชนิด และMX Protein สูตรพืชและไข่ขาว อัลบูแพลนท์นั้น ทางเราเองขอแนะนำเป็นชุดเบื้องต้น ในการเปิดใจใช้ผลิตภัณฑ์พอลลิติน หากท่านใดสนใจที่จะใช้พอลลิตินเพิ่มเติม สามารถติดต่อสอบถามกับผู้เชี่ยวชาญของเราได้เลย
"ปรึกษาการใช้ผลิตภัณฑ์พอลลิติน เพื่อตอบโจทย์การใช้ให้ตรงโรคจากผู้เชี่ยวชาญ"
คุณวชิรา นธีนาม
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โทร 088 654 9633
LINE @Puy.wachira