โรคเบาหวานมีอาการเริ่มต้นอย่างไร ?
เมื่อมีน้ำตาลในเลือดสูงเล็กน้อยมักไม่มีอาการผิดปกติ อาจตรวจพบจากการตรวจสุขภาพประจำปี ภาวะน้ำตาลสูงมากอาจมีอาการได้หลายอย่าง เช่น ปัสสาวะบ่อย (มากกว่า 1 ครั้งต่อคืน) หิวน้ำบ่อย ทานอาหารมาก น้ำหนักลด อ่อนเพลีย ตาพร่ามัว ชามือ ชาเท้า แผลเรื้อรัง เชื้อราที่ผิวหนัง ตกขาว สมรรถภาพทางเพศเสื่อมหรืออาจพบอาการของโรคแทรกซ้อนของเบาหวานตั้งแต่วินิจฉัย
โรคเบาหวานมีกี่ชนิด ?
▶ โรคเบาหวานชนิดที่ 1 เป็นภาวะที่ตับอ่อนไม่สามารถผลิตอินซูลินได้เลย จำเป็นต้องฉีดอินซูลินสม่ำเสมอ พบได้ประมาณ 5-10% ของผู้ที่เป็นเบาหวาน มักพบในคนอายุน้อย น้ำหนักน้อย
▶ โรคเบาหวานชนิดที่ 2 เป็นชนิดที่พบมากที่สุด (ประมาณ 90 - 95%) มักเป็นจากกรรมพันธุ์ สามารถใช้ยาเบาหวานชนิดทานได้
▶ โรคเบาหวานที่มีสาเหตุเฉพาะ จากกลุ่มโรคอื่น เช่น MODY, Cushing, ยาบางชนิด, การติดเชื้อบางอย่าง (CMV, Rubella)
▶ โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ พบได้ประมาณ 2.1% ของการตั้งครรภ์ มักพบช่วงสัปดาห์ที่ 24 – 48 ของการตั้งครรภ์อาจส่งผลกระทบต่อมารดา และบุตรในครรภ์ได้
การคุมเบาหวาน ถือเป็นเรื่องสำคัญสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่มีการแพร่ระบาด กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานจะต้องเคร่งครัดในการคุมเบาหวาน และป้องกันตนเอง เนื่องจากหากติดเชื้อ จะมีอาการปอดอักเสบรุนแรงมากกว่าคนปกติถึง 2 เท่า และมีอัตราการเสียชีวิตมากขึ้นถึง 3 เท่า เมื่อเทียบกับผู้ติดเชื้อที่ไม่ได้เป็นโรคเบาหวาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มผู้ป่วยที่ควบคุมน้ำตาลได้ไม่ดี จะเสี่ยงต่อการเกิดโรครุนแรง
ซึ่งกลุ่มผู้ป่วยที่ควบคุมน้ำตาลได้ไม่ดี หมายถึง ผู้ที่มีระดับน้ำตาลในตอนเช้าสูงกว่า 130 mg/dl หรือมีระดับน้ำตาลสะสมเฉลี่ย 3 เดือน หรือ HbA1C มากกว่า 7 mg%
วิธีการควบคุมเบาหวานอย่างง่ายทำได้โดย
▸ ควบคุมการรับประทานอาหาร ลดแป้ง หวาน มัน เค็ม
▸ เน้นรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ กากใยสูง
▸ รับประทานยาและพบแพทย์อย่างสม่ำเสมอ
▸ พักผ่อนให้เพียงพอ
▸ หยุดสูบบุหรี่
▸ ออกกำลังกาย ควบคุมน้ำหนัก
▸ หลีกเลี่ยงขนมหวาน ชา กาแฟ
ทั้งนี้สำหรับการใช้พอลลิติน ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานเรื้อรังนั้น สำหรับการใช้พอลลิตินในการรักษาแบบแพทย์ทางเลือก เพื่อให้มีประสิทธิ์ภาพตามจดมุ่งหมาย ในผู้ที่มีอาการโรคไตเรื้อรัง ควรใช้พอลลิตินประกอบกันมากกว่า 1-2 ชนิดขึ้นไป ดังนั้น ทางเราขอแนะนำเบื้องต้น เป็นชุดเปิดใจประกอบด้วย
01.พอลลิตัน (สีน้ำตาล)
02.พอลลิทรอมบ์ (สีชมพู)
โดยพอลลิติน Politin ทั้ง 2 ชนิดนี้ ทางเราเองขอแนะนำเป็นชุดเบื้องต้น ในการเปิดใจใช้ผลิตภัณฑ์พอลลิติน หากท่านใดสนใจที่จะใช้พอลลิตินเพิ่มเติม สามารถติดต่อสอบถามกับผู้เชี่ยวชาญของเราได้เลย
"ปรึกษาการใช้ผลิตภัณฑ์พอลลิติน เพื่อตอบโจทย์การใช้ให้ตรงโรคจากผู้เชี่ยวชาญ"
คุณวชิรา นธีนาม
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โทร 088 654 9633
LINE @Puy.wachira